บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ใบงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทำ
นาย ธนาธิป เล็กกกุล รหัส 6031280003
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ความหมายของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรมระบบที่ใช้สำหรับ
ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง การจัดสรรทรัพยากรในระบบให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและคอยดูแลองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ จัดหาหนทางที่เหมาะสมในการใช้ ทรัพยากร(Resource)ร่วมกันที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ดังนั้น ระบบปฏิบัติการ หรือ โอเอส จึงหมายถึง ชุดโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการ ควบคุม ดูแลการดำเนินการต่าง ๆ ในระบบของ คอมพิวเตอร์ ประสานการทำงานระหว่างทรัพยากร ต่าง ๆ ในระบบ
ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง การจัดสรรทรัพยากรในระบบให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและคอยดูแลองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ จัดหาหนทางที่เหมาะสมในการใช้ ทรัพยากร(Resource)ร่วมกันที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ดังนั้น ระบบปฏิบัติการ หรือ โอเอส จึงหมายถึง ชุดโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการ ควบคุม ดูแลการดำเนินการต่าง ๆ ในระบบของ คอมพิวเตอร์ ประสานการทำงานระหว่างทรัพยากร ต่าง ๆ ในระบบ
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
1. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Stand-alone OS): ให้บริการสำหรับผู้ใช้คนเดียวใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานทั่วไป
มักพบเห็นในไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ PC,
โน้ตบุ้คส่วนตัว, เน็ตบุ้ค เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการใหม่ คือ
Google Chrome OS คือระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ที่พัฒนาโดย Google
จะเป็นระบบปฏิบัติการแบบฟรี
2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS): ให้บริการผู้ใช้หลายคน (Multi-user) มุ่งเน้นการใช้สำหรับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบในคอมพิวเตอร์ที่นำมาเป็นผู้ให้บริการเซิร์ฟเวอร์ (Server) เช่น ซูเปอร์คอมพิวเตอร ์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ และมินิคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้คือ Linux, WindowsServer, Solaris เป็นต้น
3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS): พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็กประเภท โทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น เครื่อง PDA, SmartPhone เป็นต้น ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ คือ Symbian OS, OS X, Android เป็นต้น
2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS): ให้บริการผู้ใช้หลายคน (Multi-user) มุ่งเน้นการใช้สำหรับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบในคอมพิวเตอร์ที่นำมาเป็นผู้ให้บริการเซิร์ฟเวอร์ (Server) เช่น ซูเปอร์คอมพิวเตอร ์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ และมินิคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้คือ Linux, WindowsServer, Solaris เป็นต้น
3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS): พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็กประเภท โทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น เครื่อง PDA, SmartPhone เป็นต้น ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ คือ Symbian OS, OS X, Android เป็นต้น
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติในการทำงานแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้การทำงานแบบ Multi – Tasking คือ ความสามารถในการทำงานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทำงานของระบบปฏิบัติการจะอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทำงานทีละโปรแกรมคำสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะสลับงานไประหว่างโปรแกรมหรือทำงานควบคู่กันได้ แต่สำหรับในปัจจุบันจะพบเห็นลักษณะการทำงานแบบนี้มากขึ้น เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows รุ่มใหม่ ๆ ซึ่งทำให้การใช้งานได้สะดวกและทำงานได้หลาย ๆ โปรแกรม

การทำงานแบบ Multi – User ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการที่ทำหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการทำงานกับผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทำให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
1. ระบบคนเดียว (Single User) ใช้ในเครื่อง PC ที่มีผู้ใช้คนเดียวในเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น DOS (Disk Operating System) ซึ่งระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้เป็ระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรม DOS จะถูก Load หรืออ่านจากแผ่นดิสก์เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจําก่อน จากนั้น DOS จะไปทําหน้าที่เป็น ผู้ประสานงานต่าง ๆ ระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหลายโดยอัตโนมัติ โดยที่ DOS จะรับคําสั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้ว นําไปปฏิบัติตาม โดยการทํางานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคําสั่งเข้าไปที่ซีพร็อม (C:\>)ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจําคําสั่งต่าง ๆ ในการใช้งานจึงจะสามารถใช้งานได้ ระบบปฏิบัติการ DOS ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่เก่าแก่. และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก
2. ระบบ Multiprogramming เป็นระบบที่มีผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกัน เช่น Unix , Linux
ซึ่ง Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN
ของบริษัท SUN Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft
ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PC แต่อย่างใด แต่Unix
เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system)
ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง
ผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน นอกจากนี้ Unix
ยังถูกออกแบบมาเพื่อ
ตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า
ระบบหลายผู้ใช้ (Multiuser system)
3. ระบบ Multitasking
เป็นระบบที่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หลายงานในเวลาเดียวกัน
เป็นหลักการในแนวเดียวกับระบบ Multiprogramming เช่น Windows ซึ่ง
Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft
ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับ ผู้ใช้ (User interface) เป็นแบบกราฟิก
หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคําสั่ง เรียกว่า GUI (Graphic User
Interface)
โดยสามารถสั่งให้เครื่องทํางานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คําสั่งที่ต้องการ
ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1
โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS
หากต้องการเปลี่ยนไปทํางานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก
โปรแกรมเดิมก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทํางานของ
Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง”
โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ
สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง
ๆ สามารถ แชร์ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิปบอร์ด (Clipboard) ระบบ
Windows ทําให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทําความเข้าใจ
เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น
4. ระบบเครือข่าย (Networking) เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเชื่อมโยงส่งข้อมูลให้กันและกัน และยังสามารถทำงานประสานกันได้เช่น NOS (network Operating System)
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรบ้าง
1. ช่วยจัดการกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์: ระบบปฏิ- บัติการจะช่วยจัดการประสานการทำงานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่อยู่บนเครื่องให้สามารถทำงานร่วมกันได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น จัดลำดับการทำงาน ตรวจ
สอบความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ เริ่มต้นทำงาน ในระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.
ช่วยติดต่อกับผู้ใช้งาน: ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถ
สั่งการคอมพิวเตอร์โดยผ่าน “ส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface)
หรือที่ผู้ใช้เห็นในหน้าจอเป็นส่วนของ กราฟิก ภาพ ไอคอน หรือข้อความ
ที่เรียกว่า GUI (Graphic User Interface)
3. ช่วยจัดการการทำงานของซอฟต์แวร์ประยุกต์: ระบบปฏิบัติการจะ ช่วยโหลดการทำงานของโปรแกรมต่างๆขึ้นมา เช่น เมื่อผู้ใช้ต้องการ เปิดทั้งโปรแกรม Word และโปรแกรม Excel ระบบปฏิบัติการจะเรียก โปรแกรมนั้นขึ้นมา และจัดสรรการทำงานของซอฟต์แวร์ให้สามารถ สลับกันทำงานได้โดยที่ผู้ใช้งานจะไม่รู้สึกว่าการทำงานมีการสะดุดเนื่อง จากระบบปฏิบัติการมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า“MultiTasking”(มัลติ-ทาสกิ้ง) เป็นความสามารถของระบบปฏิบัติการที่ทำให้ คอมพิวเตอร์ทำงานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ระบบ ปฏิบัติการยังมีอีกหนึ่งคุณสมบัติเด่นที่ เรียกว่า “Multi-Users” (มัลติ-ยูสเซอร์) คือให้ผู้ใช้ มากกว่าหนึ่งคนเข้าทำงานได้พร้อมๆ กัน (สามารถ login พร้อมกันหลายคนได้)
3. ช่วยจัดการการทำงานของซอฟต์แวร์ประยุกต์: ระบบปฏิบัติการจะ ช่วยโหลดการทำงานของโปรแกรมต่างๆขึ้นมา เช่น เมื่อผู้ใช้ต้องการ เปิดทั้งโปรแกรม Word และโปรแกรม Excel ระบบปฏิบัติการจะเรียก โปรแกรมนั้นขึ้นมา และจัดสรรการทำงานของซอฟต์แวร์ให้สามารถ สลับกันทำงานได้โดยที่ผู้ใช้งานจะไม่รู้สึกว่าการทำงานมีการสะดุดเนื่อง จากระบบปฏิบัติการมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า“MultiTasking”(มัลติ-ทาสกิ้ง) เป็นความสามารถของระบบปฏิบัติการที่ทำให้ คอมพิวเตอร์ทำงานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ระบบ ปฏิบัติการยังมีอีกหนึ่งคุณสมบัติเด่นที่ เรียกว่า “Multi-Users” (มัลติ-ยูสเซอร์) คือให้ผู้ใช้ มากกว่าหนึ่งคนเข้าทำงานได้พร้อมๆ กัน (สามารถ login พร้อมกันหลายคนได้)
1. ระบบปฏิบัติการ DOS (Disk Operating System)
ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM
เพื่อให้เป็นระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรม DOS จะถูก
Load หรืออ่านจากแผ่นดิสก์เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจําก่อน จากนั้น DOS
จะไปทําหน้าที่เป็น ผู้ประสานงานต่าง ๆ
ระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหลายโดยอัตโนมัติ โดยที่ DOS
จะรับคําสั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้ว นํ าไปปฏิบัติตาม
โดยการทํางานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคําสั่งเข้าไปที่ซีพร็อม
(C:>)ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจําคําสั่งต่าง ๆ
ในการใช้งานจึงจะสามารถใช้งานได้ ระบบปฏิบัติการ DOS
ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่เก่าแก่. และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก
2. ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows
Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft
ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับ ผู้ใช้(User interface) เป็นแบบกราฟิก
หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคําสั่ง เรียกว่า GUI (Graphic User Interface)
โดยสามารถสั่งให้เครื่องทํางานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คําสั่งที่ต้องการ
ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1
โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS
หากต้องการเปลี่ยนไปทํางานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก
โปรแกรมเดิมก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทํางานของ
Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง”
โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ
สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ
สามารถ แชร์ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิปบอ์.ด (Clipboard) ระบบ Windows
ทําให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทําความเข้าใจ
เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น
3. ระบบปฏิบัติการ Linux
Linux เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ DOS, Windows หรือ Unix
โดยLinuxนั้นจัด ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ Unix ประเภทหนึ่ง
การที่Linuxเป็นที่กล่าวขานกันมากในช่วงปี 1999 – 2000
เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ การและโปรแกรมประยุกต์ที่ ทํ
างานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not
UNIX) และสิ่งที่สําคัญที่สุดก็คือ ระบบ Linux
เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware)
คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อ โปรแกรม Linux นั้นมี
นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกช่วยกันแก้ไข ทําให้การขยายตัวของ Linux
เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยในส่วนของใจกลางระบบปฏิบัติการ หรือ Kernel
นั้นจะมีการพัฒนาเป็นรุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2)
ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทํางานแบบหลายซีพียู หรือ SMP
(Symmetrical Multi Processors) ซึ่งทําให้ระบบLinux
สามารถนําไปใช้สําหรับทํางาน เป็น Saver ขนาดใหญ่ได้ระบบ Linux ตั้งแต่รุ่น
4 นั้น สามารถทํางานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือ บนซีพียูของ อินเทล (PC
Intel) ดิจิทัลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer และซันสปาร์ค (SUN
SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า RPM (Red Hat Package
Management) ถึงแม้ว่าขณะนี้ Linux ยังไม่สามารถแทนที่ Microsoft Windows
บนพีซีหรือ Mac OS ได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ก็มีผู้ใช้
จํานวนไม่น้อยที่สนใจมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บน Linux
และเรื่องของการดูแล ระบบ Linux นั้น
ก็มีเครื่องมือช่วยสําหรับดําเนินการให็สะดวกยิ่งขึ้น
อ้างอิงโดย:https://preeya034.wordpress.com
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/32/p5-1.html
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น